ข้า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฃ้า
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kraːꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨢ᩶ᩣ (ฃ้า) หรือ ภาษาคำเมือง ᨡ᩶ᩣ (ข้า), ภาษาลาว ຂ້າ (ข้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᦱᧉ (ฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶႃႈ (ข้า), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥲ (ฃ้า), ภาษาจ้วงใต้ ra("กู")
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ค่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kâa |
ราชบัณฑิตยสภา | kha | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaː˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ค่า ฆ่า |
คำสรรพนาม
[แก้ไข]ข้า
- เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย
คำนาม
[แก้ไข]ข้า
คำกริยา
[แก้ไข]ข้า
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ฉัน